Profile picture

เขียนโดย สิริศักดิ์ จันทเนตร มีความสนใจในโภชนพันธุศาสตร์ และเผยแพร่ความรู้เรื่องสุขภาพให้ผู้คน

  1. February 22, 2022

    การตรวจเลือด (Blood testing) เป็นหนึ่งในวิธีการสำคัญเพื่อบ่งชี้การทำงานของอวัยะต่าง ๆ ภายในร่างกาย หรือเป็นการตรวจวิเคราะห์หาปัจจัยเสี่ยงของสุขภาพของแต่ละบุคคล ซึ่งจะช่วยให้แพทย์วินิจฉัยโรคหรือสภาวะบางอย่างที่ผิดปกติของร่างกายได้ เชื่อว่าผู้ป่วยหลาย ๆ ท่านหรือผู้ที่เข้ารับการตรวจสุขภาพเมื่อได้ใบผลการตรวจเลือดจากโรงพยาบาลนั้น มักจะไม่เข้าใจความหมายของค่าต่าง ๆ จากข้อจำกัดดังกล่าวบทความนี้จึงได้รวบรวมคำอธิบายและความหมายของค่าต่าง ๆ ไว้เพื่อช่วยให้หลาย ๆ ท่านได้เข้าใจผลเลือดของตนเองได้ดียิ่งขึ้น

  2. February 21, 2022

    อนุมูลอิสระ เป็นของเสียที่เกิดจากการสันดาปในร่างกาย เป็นสนิมของเซลล์ในร่างกาย หากร่างกายมีอนุมูลอิสระมากเกินไปอาจก่อให้เกิดปัญหาตามมามากมาย และยังเป็นต้นเหตุของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs - non-communicable diseases) อีกด้วย

  3. February 20, 2022

    ความเครียดก็คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกาย นั่นเอง ซึ่งทุกคนจำเป็นต้องมีอยู่เสมอในการดำรงชีวิต เช่น การทรงตัว เคลื่อนไหวทั่วๆไป มีการศึกษาพบว่าทุกครั้งที่เราคิดหรือมีอารมณ์บางอย่างเกิดขึ้นจะต้องมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแห่งใดแห่งหนึ่ง ในร่างกายเกิดขึ้นควบคู่เสมอ

  4. February 20, 2022

    ความเครียดก็คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกาย นั่นเอง ซึ่งทุกคนจำเป็นต้องมีอยู่เสมอในการดำรงชีวิต เช่น การทรงตัว เคลื่อนไหวทั่วๆไป มีการศึกษาพบว่าทุกครั้งที่เราคิดหรือมีอารมณ์บางอย่างเกิดขึ้นจะต้องมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแห่งใดแห่งหนึ่ง ในร่างกายเกิดขึ้นควบคู่เสมอ

  5. February 20, 2022

    ความสุขมีความสัมพันธ์กับสมอง เมื่อคนเรามีความสุข สมองซีกซ้าย ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล การวิเคราะห์ และการคำนวณ จะทำงานมากขึ้น ขณะที่เมื่อเรามีความรู้สึกในเชิงลบ หรือมีความทุกข์ สมองซีกขวาซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และศิลปะจะทำงานมากกว่า ดังนั้น คนที่มีสมองซีกซ้ายทำงานมากกว่าซีกขวา จึงมักจะเป็นคนอารมณ์ดี ยิ้มแย้ม และมีความคิดในเชิงบวก

  6. February 20, 2022

    โรคภูมิแพ้ เกิดจากภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity) ทำให้มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารที่พบได้ทั่วไปในชีวิตประจำวัน เช่น อาหาร ไรฝุ่น ละอองเกสร ซึ่งในคนทั่วไปจะไม่มีปฏิกิริยาต่อสิ่งเหล่านี้

  7. February 19, 2022

    Nrf2 เป็นเสมือนหน่วยซีลของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ซึ่งปกติแล้วจะอยู่ในฐานทัพ นั่งดื่มกาแฟ (หรือชาเขียว) จนกว่าจะถูกเรียกให้ลงมือปฏิบัติแล้วเข้าไปในนิวเคลียสของเซลล์และเข้าไปใน DNA จัดการกวาดล้างผู้ก่อการร้าย (อนุมูลอิสระ) และปรับสวิทซ์ยีนแห่งการมีอายุยืน SIRT-1 เมื่อเสร็จภารกิจพวกเขาก็กลับไปที่เยื่อหุ้มเซลล์และเฝ้าระวังอย่างตื่นตัวต่อไป

  8. February 15, 2022

    โภชนพันธุศาสตร์ (Nutrigenomics) โภชนพันธุศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงใหม่ เพื่อศึกษาบทบาทของวิตามิน แร่ธาตุและสารประกอบที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพต่อการแสดงออกของยีน และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีต่อการตอบสนองของร่างกาย

  9. February 15, 2022

    อนุมูลอิสระที่ร่างกายของคุณสร้างขึ้นมา เมื่อเกิดความไม่สมดุลที่เรียกว่า**ความเครียดออกซิเดชัน (Oxidative Stress)** มันเปลี่ยนแปลงคุณ สร้างความชราให้คุณ ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและโรคต่าง ๆ เราหยุดมันได้ด้วยตัวกระตุ้นยีน (Gene Activator)

  10. February 14, 2022

    โภชนพันธุศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงใหม่ เพื่อศึกษาบทบาทของวิตามิน แร่ธาตุและสารประกอบที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพต่อการแสดงออกของยีน และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีต่อการตอบสนองของร่างกาย